50 ปี สู่อนาคต
ทำไมต้องเรียนวิทยาศาสตร์
การเรียนคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์จะช่วยให้เราเข้าใจชีวิต และโลกที่อยู่รอบตัวเราได้ดีขึ้น
ทำให้เราเข้าใจธรรมชาติได้ดีขึ้น สามารถตอบคำถามต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุมีผล
และที่สำคัญ คือ ทำให้เรามีเครื่องมือในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโลกของความเป็นจริงได้มากขึ้น
รศ. ดร.ธัชชัย สุมิตร
อดีตประธานกรรมการ สสวท. (พ.ศ. 2549 - 2555 และ 2558 - 2561)
การเรียนคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์จะช่วยให้เราเข้าใจชีวิต และโลกที่อยู่รอบตัวเราได้ดีขึ้นทำให้เราเข้าใจธรรมชาติได้ดีขึ้น สามารถตอบคำถามต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุมีผลและที่สำคัญ คือ ทำให้เรามีเครื่องมือในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในโลกของความเป็นจริงได้มากขึ้น
รศ. ดร.ธัชชัย สุมิตร
อดีตประธานกรรมการ สสวท. (พ.ศ. 2549 - 2555 และ 2558 - 2561)
การพัฒนาความสามารถทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ต้องเริ่มจากพื้นฐานที่เข้มแข็งก่อนแล้วจึงค่อยนำไปประยุกต์ใช้ให้กว้างขวางและต่อเนื่อง
ศ. (เกียรติคุณ) ดร. นพ.พรชัย มาตังคสมบัติ
อดีตประธานกรรมการ สสวท. (พ.ศ. 2545-2548)
การพัฒนาความสามารถทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต้องเริ่มจากพื้นฐานที่เข้มแข็งก่อนแล้วจึงค่อยนำไปประยุกต์ใช้ให้กว้างขวางและต่อเนื่อง
ศ. (เกียรติคุณ) ดร. นพ.พรชัย มาตังคสมบัติ
อดีตประธานกรรมการ สสวท. (พ.ศ. 2545-2548)
จากตำราสู่ปัญญาประดิษฐ์
เสียงสะท้อนจากผู้ใช้ผลผลิตของ สสวท. หนังสือเรียน คู่มือครู Project 14 และโครงการ Coding ของสสวท. จากประสบการณ์ตรง
ครูกนกวรรณ เย็นใจ
โรงเรียนบ้านหนองแค จังหวัดชัยนาท
ครูอนลัส คาลเคล
โรงเรียนวังแขมวิทยาคม จังหวัดกำแพงเพชร
สู่ความเสมอภาคทางการศึกษา
1. มุมมองต่อบทบาทของ สสวท. ที่มีต่อการจัดการศึกษาเพื่อความ
เสมอภาคว่าช่วยพัฒนาการจัดการศึกษาในภาพรวมของประเทศ
รศ. ดร. คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ
1. มุมมองต่อบทบาทของ สสวท. ที่มีต่อการจัดการศึกษาเพื่อความเสมอภาคว่าช่วยพัฒนาการจัดการศึกษาในภาพรวมของประเทศ
รศ. ดร. คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ
2. สิ่งที่ สสวท. ควรพัฒนาหรือลงมือทำ เพื่อให้เกิดความเสมอภาค
ทางการศึกษา
รศ. ดร. คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ
2. สิ่งที่ สสวท. ควรพัฒนาหรือลงมือทำ เพื่อให้เกิดความเสมอภาคทางการศึกษา
รศ. ดร. คุณหญิงสุมณฑา พรหมบุญ
ครูยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21
คุณลักษณะครูยุคใหม่ เนื้อหาแม่นยำ สร้างแรงบันดาลใจ
ต่อยอดการคิดขั้นสูง
อาจารย์นันทิยา บุญเคลือบ
อดีตผู้ช่วยผู้อำนวยการ สสวท.
คุณลักษณะครูยุคใหม่ เนื้อหาแม่นยำ สร้างแรงบันดาลใจ ต่อยอดการคิดขั้นสูง
อาจารย์นันทิยา บุญเคลือบ
อดีตผู้ช่วยผู้อำนวยการ สสวท.
คุณลักษณะครูยุคใหม่
เนื้อหาแม่นยำ สร้างแรงบันดาลใจ
ต่อยอดการคิดขั้นสูง
อาจารย์นันทิยา บุญเคลือบ
อดีตผู้ช่วยผู้อำนวยการ สสวท.
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้วิถีใหม่
ประสบการณ์ของการเป็นครู สควค. ในการเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้
ครูวันดี โค้ไพบูลย์
โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม จังหวัดอ่างทอง
การเป็นครู สควค. ให้อะไรบ้าง
ครูภานุวัฒน์ เกียรตินฤมล
โรงเรียนบรบือ จังหวัดมหาสารคาม
นักวิทย์ผู้พลิกประเทศ
สาขาดาราศาสตร์เป็นสาขาที่ถูกดูแคลนว่าเป็นสาขาวิทยาศาสตร์
ที่ไม่มีประโยชน์สำหรับประเทศไทย แต่วงการดาราศาสตร์ได้ทำให้โลกเปลี่ยนมาแล้วหลายครั้ง ตัวอย่างที่ใกล้ตัวเราที่สุด คือ กล้องดิจิทัล กับ Wi-Fi นับเป็นผลงานของวงการดาราศาสตร์ Wi-Fi ถือกำเนิดมาจากดาราศาสตร์วิทยุ ต่อมาสิทธิบัตรนั้นได้ถูกนำเอาไปทำเป็น Wi-Fi
ที่เราใช้กันอยู่ในทุกวันนี้
ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา
ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) บัณฑิตโครงการ พสวท.
สาขาดาราศาสตร์เป็นสาขาที่ถูกดูแคลนว่าเป็นสาขาวิทยาศาสตร์ที่ไม่มีประโยชน์สำหรับประเทศไทย แต่วงการดาราศาสตร์ได้ทำให้โลกเปลี่ยนมาแล้วหลายครั้ง ตัวอย่างที่ใกล้ตัวเราที่สุด คือ กล้องดิจิทัล กับ Wi-Fi นับเป็นผลงานของวงการดาราศาสตร์ Wi-Fi ถือกำเนิดมาจากดาราศาสตร์วิทยุ ต่อมาสิทธิบัตรนั้นได้ถูกนำเอาไปทำเป็น Wi-Fi ที่เราใช้กันอยู่ในทุกวันนี้
ดร.ศรัณย์ โปษยะจินดา
ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (สดร.) บัณฑิตโครงการ พสวท.
เมื่อโจทย์สำคัญของทั้งโลกและประเทศไทย คือเรื่องของพลังงานสะอาด นิวเคลียร์ฟิวชันจะเป็นคำตอบของพลังงานสะอาดสำหรับโลกแห่งอนาคต
รศ. ดร.ธวัชชัย อ่อนจันทร์
ผู้อำนวยการสถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) บัณฑิตโครงการ พสวท.
ถ้าประเทศเป็นผู้ใช้อย่างเดียว ในระยะยาวก็จะต้องซื้อเทคโนโลยี
มาใช้ตลอด เราจึงต้องสร้างคน และสร้างเทคโนโลยีเอง เพื่อที่สักวันหนึ่งเราจะสามารถแข่งขันได้ เพื่อที่ในอนาคตเราจะสามารถสร้างเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอนด้วยฝีมือคนไทยเอง
รศ. ดร.สาโรช รุจิรวรรธน์
ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนแห่งชาติ (องค์การมหาชน) บัณฑิตโครงการ พสวท.
ถ้าประเทศเป็นผู้ใช้อย่างเดียว ในระยะยาวก็จะต้องซื้อเทคโนโลยีมาใช้ตลอด เราจึงต้องสร้างคน และสร้างเทคโนโลยีเอง เพื่อที่สักวันหนึ่งเราจะสามารถแข่งขันได้ เพื่อที่ในอนาคตเราจะสามารถสร้างเครื่องกำเนิดแสงซินโครตรอนด้วยฝีมือคนไทยเอง
รศ. ดร.สาโรช รุจิรวรรธน์
ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอนแห่งชาติ (องค์การมหาชน) บัณฑิตโครงการ พสวท.
เด็กโอลิมปิกวิชาการไปไหน ?
อะไรคือเป้าหมายหลักของโอลิมปิกวิชาการ
รศ.เย็นใจ สมวิเชียร
กรรมการและเหรัญญิก มูลนิธิ สอวน.
เด็กโอลิมปิกวิชาการเมื่อได้รับเหรียญรางวัลแล้วไปไหน ?
ดร.ชยสิทธิ์ อุตมาภินันท์
สถาบันวิทยสิริเมธี(VISTEC)
ความร่วมมือนานาชาติและเครือข่าย สสวท.
แนวทางการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ คือ คน สสวท. ต้องได้รับการพัฒนา
เพื่อให้ สสวท. สร้างคุณค่ากับประเทศไทยได้อย่างเต็มที่
สสวท. จะอยู่โดยลำพังไม่ได้ จะต้องมีเครือข่ายทั่วโลก ทั้งในและต่างประเทศ
ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร
อดีตผู้อำนวยการ สสวท. (พ.ศ. 2553 - 2561)
แนวทางการสร้างเครือข่ายความร่วมมือ คือ คน สสวท. ต้องได้รับการพัฒนา เพื่อให้ สสวท. สร้างคุณค่ากับประเทศไทยได้อย่างเต็มที่ สสวท. จะอยู่โดยลำพังไม่ได้ จะต้องมีเครือข่ายทั่วโลก ทั้งในและต่างประเทศ
ดร.พรพรรณ ไวทยางกูร
อดีตผู้อำนวยการ สสวท. (พ.ศ. 2553 - 2561)
วิสัยทัศน์แห่งอนาคตสู้โลกเปลี่ยน
เทคโนโลยีดิจิทัลที่พัฒนาอย่างก้าวกระโดดทำให้เด็กไทยจำเป็นต้องมีสมรรถนะ
มีทักษะการคิดวิเคราะห์ และมีเจตคติที่ดี 50 ปี ต่อจากนี้ สสวท. กำลังก้าวสู่ยุคดิจิทัล
ผสานการเรียนรู้แบบ Formal Education กับ Informal Education ให้ไร้รอยต่อ
เพื่อให้การเรียนการสอนเป็นเรื่องสนุกและเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต
ศ. ดร.ชูกิจ ลิมปิจํานงค์
ผู้อำนวยการ สสวท.
เทคโนโลยีดิจิทัลที่พัฒนาอย่างก้าวกระโดดทำให้เด็กไทยจำเป็นต้องมีสมรรถนะมีทักษะการคิดวิเคราะห์ และมีเจตคติที่ดี 50 ปี ต่อจากนี้ สสวท. กำลังก้าวสู่ยุคดิจิทัลผสานการเรียนรู้แบบ Formal Education กับ Informal Education ให้ไร้รอยต่อเพื่อให้การเรียนการสอนเป็นเรื่องสนุกและเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต
ศ. ดร.ชูกิจ ลิมปิจํานงค์
ผู้อำนวยการ สสวท.